ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์ (Thorndike’s Connectionism Theory)
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์ (Thorndike’s Connectionism Theory)
ประวัติของธอร์นไดค์
เอ็ดเวิร์ด ลี ธอร์นไดค์ (Edward Lee Thomdike) เป็นนักจิตวิทยาชาวอเมริกา เกิด วันที่ 31สิงหาคม ค.ศ.1814ที่เมืองวิลเลี่ยมเบอรี ่ รัฐแมซซาชูเสท และสิ้นชีวิตวันที่ 9 สิงหาคม ค.ศ.1949 ที่เมืองมอนท์โร รัฐนิวยอร์ค
หลักการเรียนรู้
ทฤษฎีสัมพันธ์เชื่อมโยง กล่าวถึง การเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้ากับ การตอบสนอง โดยมีหลักพื้นฐานว่า การเรียนรู้เกิดจากการเชื่อมโยง ระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนองที ่มักจะออกมาในรูปแบบต่างๆ หลายรูปแบบ โดยการลองถูกลองผิด จนกว่าจะพบรูปแบบที่ดีและเหมาะส มที่สุด
หลักการเรียนรู้ของทฤษฎี
หลักการเรียนรู้ของทฤษฎี
ธอร์นไดค์ เขาได้เริ่มการทดลองเมื่อปี ค.ศ.1898 เกี่ยวกับการใช้หีบกล( Puzzie-box) เขาทดลองการเรียนรู้จนมีชื่อเสี ยง การทดลองใช้หีบกล
การทดลอง
การทดลอง
ในการทดลอง ธอร์นไดค์ได้นำแมวไปขังไว้ในกรง ที่สร้างขึ้น แล้วนำปลาไปวางล่อไวนอกกรงให้ห่ างพอประมาณ โดยให้แมวไม่สามารถยื่นเท้าไปเข ี่ยได้ จากการสังเกต พบว่าแมวพยายามใช้วิธีการต่าง ๆ เพื่อจะออกไปจากกรง จนกระทั่งเท้าของมันไปเหยียบถูก คานไม้โดยบังเอิญ ทำให้ประตูเปิดออก หลังจาก นั้นแมวก็ใช้เวลาในการเปิดกรงได ้เร็วขึ้น
กฏแห่งการเรียนรู้
1.กฎแห่งความพร้อม(law of readiness) การเรียนรู้จะเกิดขึ้นได้ดี ถ้าผู้เรียนมีความพร้อมทั้งทางร ่างกายและจิตใจ
2.กฎแห่งการฝึกห ัด (low of exercise) การฝึกหัดหรือกระทำบ่อยๆ ด้วยความเข้าใจจะทำให้การเรียนร ู้นั้นคงถาวร ถ้าไม่ได้กระทำซ้ำบ่อยๆ การเรียนรู้นั้นจะไม่คงถาวร และในที่สุดอาจจะลืมได้
กฎการเรียนรู้
3.กฎแห่งผลที่พึงพอใจ (law of effect) เมื่อบุคคลได้รับผลที่พึงพอใจย่ อมอยากจะเรียนรู้ต่อไป แต่ถ้าได้รับผลที่ไม่พึงพอใจ จะไม่อยากเรียนรู้ ดังนั้น การได้รับผลที่พึงพอใจ จึงเป็นปัจจัยสำคัญในการเรียนรู ้
กฎการเรียนรู้
3.กฎแห่งผลที่พึงพอใจ (law of effect) เมื่อบุคคลได้รับผลที่พึงพอใจย่
การประยุกต์ทฤษฎีของธอร์นไดค์
2. ครูควรจะสอนเด็กเมื่อเด็กมีความ
3. ครูควรจัดให้ผู้เรียนได้มีโอกาส ฝึกฝนและทดทวนในสิ่งที่เรียนไปแ ล้วในเวลาอันเหมาะสม
4. ครูควรจัดให้ผู้เรียนได้รับความ พึ่งพอใจและประสบผลสำเร็จในการท ำกิจกรรมเพื่อเป็นแรงจูงใจต่อตั วเองในการทำกิจกรรมต่อไป
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น